เอกสิริกุล ธีรกุล Akesirikul เจ้าของเทคโนโลยีพลังงานทดแทนใหม่ พลังงานอุณหภูมิ
กลับไปหน้าแรก   กลับไปหน้าโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน

ประวัติการทำงาน  Akesirikul  เอกสิริ ธีรกุล

ปีปัจจุบัน 2023

กำลังทำวิจัย และพัฒนาพลังงานจากก๊าซไฮโดรเจน และระบบจัดเก็บพลังงานเชิงกล Energy Storage ผลิตไฟฟ้า 24 ชม
สามารถใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ 24 ชม เก็บพลังงานจากแสงแดด มาใช้ในเวลากลางคืน

ค้นพบการผลิตก๊าซไฮโดรเจนด้วยแร่ธาตุไฮโดรเจนแข็ง ทำปฏิกิริยาทางเคมี ได้ก๊าซไฮโดรเจนบริสุทธิ์ 99.000%

ปีที่ผ่านๆมา ผลงานโดดเด่น
เทคโนโลยี ORC เครื่องจักรผลิตไฟฟ้า Organic Rankine Cycle

การทำวิจัย การพัฒนาการผลิตไฟฟ้า ระบบไฮบริด เครื่องจักรพลังงานทดแทนใหม่ล่าสุดของโลก
ระบบผลิตไฟฟ้า ด้วยเทคโนโลยี เพลเทียร์ ไฮบริด
และระบบ ORC Organic Rankine Cycle ในระดับก้าวไกล สายพันธุ์ไทย
ใช้พลังงานความร้อนอุณหภูมิต่ำ 50-150 องศา และความเย็น อุณหภูมิ ลบ 25- 170 องศา
ความก้าวหน้างานวิจัย ประสบความสำเร็จ รอการพัฒนาออกไปสู่เชิงพาณิชย์

ประวัติการทำงานด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี พลังงาน พลังงานทดแทน พลังงานทดแทนเพื่อสิ่งแวดล้อม
การวิจัย และพัฒนา งาน R&D การออกแบบสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Thermal Energy Power Plant
การวิจัยและพัฒนา ระบบพลังงานระบบตรีเอกานุภาพ พลังงานโฮโดรนิวส์แมติก เครื่องจักรมหัศจรรย์
การวิจัยและพัฒนาระบบเครื่องจักรกล Organic Rankine Cycle ( เครื่องจักร ORC )
การวิจัยและพัฒนา พลังงานไฮโดรเจน การสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนต่ำ และความร้อนสูง
ความเชี่ยวชาญ และความชำนาญพิเศษ
ระบบปั๊มน้ำ ปั๊มแรงดัน เทคโนโลยีปั๊มแรงดันทุกชนิด
ระบบพลังงานความร้อน ระบบเทอร์ไบน์ พลังงานน้ำ พลังงานลม พลังงานกล
ความชำนาญพิเศษ การกำหนดสเป็คปั๊มน้ำขึ้นที่สูง อาคารสูง ปั๊มน้ำส่งไกล

การติดต่อกับ เอกสิริกุล โทร 061 3612563: อีเมล์ 007innovation@gmail.com
ไอดีไลน์ Line : homeenergy

 

  
: ประวัติผลงานสิ่งประดิษฐ์  และ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ เทคโนโลยีพลังงา

Akesirikul
 เอกสิริ ธีรกุล

 เกิด    .............   1 กรกฎาคม 2500 
อายุ    ..................64

สถานภาพ  ........ สมรส
สัญชาติ.    .......  ไทย     
ศาสนา      ........ คริสต์  

    เอกสิริ ธีรกุล

 
   ประวัติการศึกษา
- พ.ศ. 2553 วันที่ 25 เมษายน จบหลักสูตรพิเศษ จากสถาบัน NIA สำนักนวัตกรรมแห่งชาติ สนช รุ่น 1
- ............... หลักสูตรการบริหารจัดการนวัตกรรม สำหรับผู้ประกอบการ

-  การศึกษาในอดีต  
-  จบการศึกษา ม.ปลาย จากโรงเรียน อำนวยศิลป์ พระนคร       
-  จบการศึกษาระดับ วิชาชีพ จากวิทยาลัยเพาะช่างระดับอนุปริญญา สาขาศิลปหัตถกรรม
- ไทยวิจิตรศิลป์ อาชีวะระดับประกาศนีบัตรวิชธาชีพชั้นสูงสาขาศิลปะออกและตกแต่งภายใน ครูพิเศษการช่าง
-  วิทยาลัยสยามธุรกิจ
    ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง    สาขา การบิน การโรงแรม ท่องเที่ยว
-  สถาบัน เอดิสัน อีเล็คโทรนิค    วุฒิบัตร สาขาไฟฟ้า และไฟฟ้าอีเล็คโทรนิค
-  ประสบการณ์ ทางไฟฟ้า ออกแบบและสร้างเครื่องขยายเสียง มิกเซอร์  ตู้ลำโพง และ ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
    ผลงานพิเศษ ออกแบบระบบควบคุมการเปิดปิดวาล์ว อัตโนมัติ 15 ทิศทาง  แทนการใช้  P L C
-  เป็นสมาชิกสมาคม การประดิษฐ์ไทย และสมาคมนักประดิษฐ์แห่งประเทศไทย
-  ความสามารถพิเศษ -- ชำนาญทางช่างซ่อม ฯลฯ -..แนวคิดทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการดัดแปลงและการออกแบบระบบ
-  ความสามารถพิเศษด้านอื่นๆ  ดำน้ำ เล่นเปียนโน ร้องเพลง
    การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ – อินเตอร์เน็ต --การเขียนแบบ -- ทำเว็บไซด์
-  ความสามารถในการบริหารจัดการ ระบบการทำงานให้เกิดผลงานและความสำเร็จการวิเคราะห์ระบบและการแก้ปัญหา

 

..ประวัติการทำงาน ปัจจุบัน
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านเทคโนโลยี และ พลังงานทดแทน 

- พ.ศ. 2561-2564
.. ก่อตั้งบริษัท เอเคอี อินโนเวชั่น จำกัด วิจัย และพัฒนาระบบพลังงานทดแทนใหม่ พลังงานอัลฟ่า โอเมก้า
..จำหน่าย ขายและติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ และระบบปั๊มน้ำอาคารสูง
..เปิดสถาบันการเรียนชุบโลหะ ทำอโนไดซ์ ชุบสีอลูมิเนียม

- พ.ศ. 2557-2558
.. วิจัย และพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน ด้วยระบบของเครื่องจักรกล Organic Rankine Cycle
.. ( เครื่องจักร ORC ) เพื่อติดตั้งโรงไฟฟ้า โครงการนำร่อง ขนาด 30KW Thermal Power Plant

- พ.ศ. 2555-2556

..การทำงานร่วมกัลบบริษัท PTS Progresstive Engineering co.,ltd. เป็นบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำ
.. ให้บริการด้านเทคโนโลยี ฯลฯ และบริการสร้างโรงไฟฟ้า Solar Thermal Energy
.. การทำงาน
- เป็นที่ปรึกษา CEO และผู้จัดการฝ่ายวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทนเพื่อสิ่งแวดล้อม
..วิจัยระบบการผลิตพลังงงานไฮโดรเจน ด้วยการสร้าง เครื่องแยกก๊าซไอโดรเจน ออกจากน้ำ
..และได้ค้นพบการป้องกันการระเบิดของก๊าสไฮโดรเจน ขณะทำการแยกก๊าส และขณะการใช้งาน ก๊าสไฮโดรเจน
..ออกแบบสร้างโรงงานไฟฟ้าพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ โดยการใช้เครื่องจักร ORC
..ออกแบบสร้าง Heet Storage เพื่อเก็บความร้อนจากแสงอาทิตย์ให้ใช้ได้ตลอด 24 ชม
.. ศึกษาการใช้ ก๊าซนำความร้อน แทนการใช้ Hot Oil นำความร้อน ลดการใช้พลังงานถึง 80%
..เปิดการสอน การชุบโลหะ ชุบนิกเกิล การชุบทอง นาค เงิน การชุบแผ่นอลูมิเนียม การชุบโลหะอุปกรณ์เครื่องจักรกล

- พ.ศ. 2554

- กรรมการผู้จัดการฝ่าย วิจัยและพัฒนาพลังงาน และ ผู้ถือหุ้น บริษัท ซันเพาเว่อร์ไลท์
- ผู้อำนวยการ ศูนย์วิวัฒนาการ สมาพันธ์ พลังงานสากล ICE
- วิจัยและพัฒนา ระบบการทำงาน Thermal Energy : ORC : Organic Rankine Cycle เพื่อใช้สร้างโรงไฟฟ้า VSPP SPP IPP
- วิวัฒนาการ ระบบ Coling Tower ใหม่ วิวัฒนาการ Coling Tower ให้ทำน้ำเย็นได้ในปริมาณมาก ที่อุณหภูมิ 26 องศาเซลเซียส
- วิจัย และพัฒนา ระบบควบแน่น เครื่องจักรกล ORC ให้ได้อุณหภูมิสำหรับการควบแน่น ที่ 7-15 องศาเซลเซียส
- วิจัย และพัฒนา ระบบการทำความเย็นแบบ ไม่ต้องใช้ คอมเพรสเซอร์ เพื่อการประหยัดพลังงาน ใช้ในภาคอุตสาหกรรม
- วิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีการชุบโลหะต่างๆ เปิดบริการรับชุบโลหะ เหล็ก อลูมิเนียม และเครื่องประดับต่างๆ

- พ.ศ. 2551 - 2553

..ประธานผู้ถือหุ้น กรรมการผู้จัดการ บรืษัท ทรินิตี้ เอ็นเนอร์ยี จำกัด และ ผู้อำนวยการ ศูนย์วิวัฒนาการ ICE สมาพันธ์ พลังงานสากล
- ออกแบบระบบการทำงานของพลังงานความร้อนต่ำ Thermal Energy
- ห้วหน้าทีมงานวิจัย และพัฒนา พลังงานทดแทนใหม่ พลังงานอุณหภูมิ ORC : Organic Rankine Cycle

- พ.ศ. 2547 – 2550

- บริษัท ทรินิตี้ พาวเวอร์ เทคโนโลยี จำกัด
- ตำแหน่ง ประธานผู้ถือหุ้นบริษัทฯ 
- ประธานกรรมการบริษัทฯ 
- กรรมการผู้จัดการบริษัทฯ
- ผู้อำนวยการ และ หัวหน้าทีมงาน ศูนย์วิจัย และพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อสิ่งแวดล้อม
- วิจัย และวิวัฒนาการ เครื่องจักรกล ORC : Organic Rankine Cycle สายพันธุ์ไทย พลังงานทดแทนใหม่ เพื่อสิ่งแวดล้อมโลก

- อดีต หลังปี พ.ศ. 2550

..ทำการวิจัย และพัฒนา พลังงานตรีเอกานุภาพ พลังงานทดแทนใหม่ เพื่อสิ่งแวดล้อมโลก Hydro Power

..หลักการ แนวทาง และประสบการณ์ในการทำงานวิจัย

- สืบค้น เทคโนโลยีต่างๆ จากในและต่างประเทศ โดยการใช้ Internet ศึกษาข้อมูลความรู้ทางวิชาการ ฯลฯ
- บันทึก การทำวิจัยในภาค ทฤษฎี ด้วยการคำนวณ และวิเคราะห์ผลจากภาคทฤษฎี เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ
- ลงมือปฏิบัติจริง โดยการสร้างเครื่องต้นแบบ และทำการทดลองระบบการทำงาน วิเคราะห์ ประมวลผลการ
..ทดลอง และพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยี จากเครื่องต้นแบบ

- นำทีมวิจัย เพื่อการทดลองสร้างเทคโนโลยีนำร่อง ในแนวทางตามเทคโนโลยี จากระบบต่างๆ ดังต่อไปนี้
- Trinity power พัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทนใหม่ ในระบบ Hydro Pneumatic power 3 สถานะภาพ
- Hydro turbine ทดลองสร้างกังหันน้ำแรงดันสูง จาก Turbine ของ Turbo charger
- Hydro Pelton ประยุคการใช้งาน Pelton turbine เพื่อใช้ในระบบ Trinity power
- Air Pelton ทดสอบการใช้งาน Pelton turbine ด้วยแรงดันอากาศในระบบ Pneumatic power
- Pneumatic system ทำการสร้างระบบ และทดสอบการทำงานมอเตอร์ลม เพื่อการขับเคลื่อนระบบผลิตกระแสไฟฟ้า
- Air motor ประยุคการใช้งาน Roots Type Supercharge ให้ทำงานเป็น Air motor
- Pneumatic Gen สร้างเครื่องต้นแบบทดลองระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วย Roots Type motor
- Lobe pump ประยุค เพื่อการใช้งานแทน Turbine ( กังหันน้ำ ) เพื่อใช้เป็นมอเตอร์พลังงานน้ำ
- Hydraulic พัฒนา Hydraulic system เพื่อใช้ในการขับเคลื่อนระบบพลังงานไฟฟ้า
- Hydraulic Start สร้างระบบ Start ด้วย Hydraulic แรงดันสูง ผ่าน Momentum
- Air machine ทำการสร้างเครื่องจักรต้นแบบ เพื่อทดลองระบบเครื่องจักรกลพลังงานแรงดันอากาศ
- Vortex transfer ทำการทดลองสร้างระบบจำลองการเกิด ลมพายุ Tornado เพื่อการ Transfer
- Vacuum system สร้างระบบ Vacuum ด้วยหัวฉีด โดยอาศัยความเร็วลมในระบบ Pneumatic
- Compressor นำการผสมผสานกันระหว่าง Centrifugal Pump & Root Supercharger เพื่อสร้าง ระบบ Super ..Compresso
..สามารถอัดอากาศได้บริมาณมาก อย่างรวดเร็ว
..เพื่อ เป็น First state ของการอัดอากาศแรงดันสูง เพื่อการประหยัดพลังงานของระบบ Compressor
- Air Hyper sonic ทำการวิจัยปรากฏการความเร็วลมระดับ เหนือความเร็วเสียง Hyper sonic
..เพื่อศึกษาการกระแทกของแรงดันอากาศ ที่ความเร็วเกิน 200 M/s ซึ่งจะทำให้มีผลต่อแรงดันที่สูงขึ้นถึ15เท่า
..ประโยชน์ การประยุคใช้แรงดันอากาศ ผ่านหัวฉีดเพื่อการขับดัน Pelton turbine อย่างมีประสิทธิภาพ
- Turbine 3 state พัฒนา Turbo charger แบบใบพัด 3 ชั้น เพื่อการอัดแรงดันอากาศถึง 3 state

- พ.ศ. 2542 – 2547

- บริษัท ไดเทคดีส โปรดักส์ชั่น จำกัด 
..ตำแหน่ง พนักงานพิเศษ ผู้จัดการ แผนกวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยี พลังงานลม

..นำทีมวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยี และสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ดังต่อไปนี้

..วางแผนการทำโครงการ สวนสนุกอากาศยานจานบินขึ้นลงทางดิ่ง และการบินอากาศยานแบบเฮลิคอปเตอร์
- โครงการอุโมงค์ลมแนวตั้ง เป็นเจ้าของสิทธิบัตร เลขที่ 1555 ได้รับสิทธิบัตร เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ปี พ. ศ. 2532
..นำทีมสร้าง อุโมงค์ลมแนวตั้ง ขนาดพื้นที่ 27 ตารางเมตร ความสูง 6 เมตร ความเร็วลม 14 เมตร ต่อวินาที
..หน้าที่การทำงานของ อุโมงค์ลมแนวตั้ง เพือส่งพลังงานการลอยตัวให้กับ จานบินขึ้นลงทางดิ่ง แบบไม่มีเครื่องยนต์
..สร้างจานบินขึ้นลงทางดิ่ง แบบไม่มีเครื่องยนต์ สามารถบิน ขึ้นลงทางดิ่งได้ และเคลื่อนที่ได้เหมือนกับ เฮริคอปเตอร์
- พัฒนาเครื่องบินแบบจานบิน ระบบใหม่ โดยมี ปีกหมุนรูปวงแหวน Annular wing ( ยื่นขอจดสิทธิบัตร )
- พัฒนา Annular wing ทำโครงการดาวเทียมสำรวจ ระยะความสูงในระดับต่ำ (โครงการยังไม่สำเร็จผล)
- สร้างกังหันลมแบบ Centrifugal ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร พัฒนาใบกังหันในรูปแบบของ ปีกเครื่องบิน Aerodynamic ..Wing ..turbine ความสามารถของกังหันลม ทำงานได้ทั้งความเร็วลมต่ำ และความเร็วลมสูง
.. มีประสิทธิภาพที่ดี ระดับเสียงเงียบ และ
..มีแรงบิดที่สูงมาก ( สามารถนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ได้ดี )
- ประยุคกังหันลม แบบ Centrifugal เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า โดยแกนหมุนไม่ผ่าน Generator โดยตรง แต่แกนหมุนจะไปหมุน ..ระบบ Compressor ..เพื่อทำการอัดอากาศบรรจุไว้ในถังแรงดัน ที่แรงดัน 45 -90 Psi เพื่อหมุน มอเตอร์ลมแบบ Roots ..แล้วจึงไปหมุน Generator
..เป็นผลดีโดยที่ไม่ต้องใช้แบตเตอรี่ ในการเก็บกระแสไฟฟ้า ..แต่ใช้วิธีการอัดอากาศแทน เพื่อหมุนมอเตอร์ลมในการผลิตกระแสไฟฟ้า
..เป็นวิธีที่ทำให้การผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงที่สุด ระบบจะทำการผลิตกระแสไฟฟ้าได้ทั้ง ความเร็วลมที่หยุดนิ่ง
..จนถึงระดับความเร็วลมที่สูงที่สุด
..( โครงการนี้สามารถนำไปใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ได้ทันที )
- ทำบันทึกการวิจัย เกี่ยวกับระดับการเกิดความเร็วลมที่ระดับความสูง 60 เมตรใน ก ท ม เพื่อพัฒนากังหันลม
- สร้างกังหันลม แบบใบพัด 3 ใบ และแบบ Turbine ซึ่งมีใบพัดเรียงกันจำนวนมาก
- สร้างกังหันลม แบบโครงรังผึ้ง ซึ่งสามารถเรียงต่อกันได้หลายตัวเป็นจำนวนมาก
- สร้างเครื่องบาลานซ์ ใบพัด แบบจานหมุน สามารถ ทำการบาลานซ์ใบพัดได้ดี
- ทำการวิจัย และทดสอบการนำ มอเตอร์ DC แบบมีแม้เหล็กถาวร มาประยุคใช้เป็น Generator
- สร้าง มอเตอร์น้ำ ด้วยตัวเองโดยสร้างในระบบ Vane turbine เพื่อนำมาใช้กับระบบ Hydro power
- ทำการสร้าง และพัฒนาเครื่องต้นแบบระบบ Hydro pneumatic โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วย
..พลังงานน้ำ ภายในระบบถังแรงดัน 3 ถัง
- ทำโครงการวิจัยเกี่ยวกับ พลังงานจากแรงดันน้ำ จากความสูงระดับ 30 เมตร ถึง 400 เมตร
- ทำการวิจัย และสร้างเครื่องต้นแบบ เพื่อทดลองเกี่ยวกับระบบ พลังงานจาก ล้อช่วยแรง Momentum

- พ. ศ. 2534 – 2541

- ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดการ ดูแลสวนผลไม้ที่ อำเภอ ภูเรือ จังหวัดเลย. ให้กับผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทย
- ดูแลสวนผลไม้ โดยเริ่มต้นโครงการปลูกพืชเศรษฐกิจ แม็คคาเดเมีย , ลิ้นจี่ , ลำไย ฯลฯ ในพื้นที่ 100 ไร่ 
- ออกแบบสร้างระบบดูดน้ำขึ้นภูเขาสูง ใช้เทคโนโลยี Jet pump และ Centrifugal pump 2 State
- ออกแบบสร้างระบบจ่ายน้ำหยด , ระบบกรองน้ำ , ระบบ ส่งน้ำในพื้นที่ 100 ไร่
- ออกแบบ โรงเรือนผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพ และผลิตปุ๋ยหมัก ออกจำหน่ายในท้องถิ่น
- ออกแบบ และสร้างรถตัดหญ้า ใบพัดตัดอยู่หน้ารถ เป็นคันแรกของโลก โดยดัดแปลงมาจากรถไถนา ควายเหล็ก 2 ล้อ
..เป็น 4 ล้อ นั่งขับ และได้มีเจ้าของโรงงานผลิตเครื่องจักรกลการเกษตรมาพบเห็นและให้ความสนใจ
..ข้าพเจ้าจึงได้มอบรูปแบบให้ เขาจึงได้นำเทคโนโลยีนี้ไปผลิต และจำหน่ายแล้ว
..ในปัจจุบันมีขายกันอย่างแพร่หลาย และเป็นที่นิยมกันมากเพราะให้ความสะดวกในการตัดหญ้าในบริเวณที่รถตัดธรรมดาเข้าไม่ถึง
- สร้างระบบขับเคลื่อนเครื่องบินขึ้นลงทางดิ่ง ด้วยใบพัดแบบกังหัน Turbine . ใช้เครื่องยนต์ 120 Hp
..ทำการทดสอบ Turbine ร่วมกับ อดีตผู้อำนวยการ กรมช่างอากาศ น อ ปรีชา วรรณภูมิ

- พ. ศ. 2531 - 2533

-เดินทางไป สหรัฐอเมริกา รัฐ แคลิฟอร์เนีย เพื่อทำโครงการสวนสนุก ในโครงการ จานบินขึ้นลงทางดิ่ง
- ออกแบบเพื่อสร้างอุโมงค์ลมขนาดใหญ่ 5000 ตารางเมตร ขนาดเท่ากับสนามฟุตบอล
- ออกแบบสร้าง เครื่องร่อนขึ้นลงทางดิ่งจำนวน 30 ลำ เส้นผ่าศูนย์ 4 เมตร เพื่อบินภายในอุโมงค์
..( ไม่สามารถทำโครงการต่อจนสำเร็จได้ เนื่องจากเกิดปัญหาทางเศรษฐกิจในประเทศสหรัฐ ทำให้โครงการต้องยกเลิก )

- พ. ศ. 2526

- ทำโครงการใบพัดปีกหมุน ระบบใหม่ โดยการออกแบบรูปทรงใบพัด สามารถทำแรงยกได้ในมุมลบ 3องศา
- ทำโครงการอุโมงค์ลมแนวตั้ง วิจัยและพัฒนาระบบแรงดันลมภายในอุโมงค์ลม โดยโครงการแบ่งออกเป็น
- การทำวิจัย การฝึกซ้อมโดดร่ม โดยใช้อุโมงค์ลมจำลองในการทดสอบวิธีการฝึกโดดร่ม
- สร้างอากาศยาน เครื่องร่อน ขึ้นลงทางดิ่ง ไม่มีเครื่องยนต์ โดยสร้างอุโมงค์ลมเป็นสนามทดสอบ ออกรายการตามไปดู ทาง TV

- พ. ศ. 2523

- สร้างเครื่องอัดอากาศ Compressor โดยดัดแปลงจากเครื่องยนต์ 3 สูบ 300 cc สามารถอัดอากาศได้
..ปริมาณมาก และได้แรงดันสูงถึง 180 Psi

- พ. ศ. 2521

- สร้างเครื่องร่อน แบบ โมโนแปลน คือเครื่องร่อนปีกชั้นเดียวแบบ อุลต้าไลท์ ลำแรกของเมืองไทย
..โดยข้าพเจ้าเองได้เขียนจดหมายไปขอแบบแปลนสร้างเครื่องร่อนปีกสามเหลี่ยม จากบริษัทผลิต Quick Sever
..เป็นบริษัทผลิตเครื่องร่อนในอเมริกา แต่ทางบริษัทผลิตเครื่องร่อนบอกว่า แบบเครื่องร่อนที่ขอมานั้น เก่า ล้าสมัยแล้ว
..ทางบริษัทมีแบบเครื่องร่อนล่าสุด ยังไม่ได้ออกวางจำหน่ายในตลาด 
..แต่ทางบริษัทจะให้แบบแปลนเครื่องร่อนรุ่นใหม่ให้มาทดลองสร้าง เพราะเห็นว่าเป็นเป็นนักประดิษฐ์ที่ให้ความสนใจมาก
..จึงได้ส่งแบบสร้างมาให้ในประเทศไทย และได้ทำการสร้างจนสำเร็จ สามารถทำการร่อนได้ดีได้ไปทดลองร่อนที่เขาใหญ่
- และ ในเวลานั้น เป็นสมาชิกชมรมเครื่องร่อนแห่งประเทศไทย จากนั้นได้มอบแบบแปลนไว้ให้ทางชมรม ..และมีผู้นำไปพัฒนาและดัดแปลง สร้างเป็นเครื่องบินแบบ อุลต้าไลท์ ติดเครื่องยนต์ ในประเทศไทย 

- พ. ศ. 2519 

- สร้างรถไฟฟ้านั่งขับ 4 ล้อ ใช้พลังงานแบตเตอรี่ โดยใช้มอเตอร์ DC เป็นตัวขับเคลื่อน ความเร็ว 60 กม

- พ. ศ. 2507
- ออกแบบ สร้างกังหันลม รูปแบบกังหันอุสา ใช้กระกาษแข็งทำ กับมอเตอร์ไฟฟ้าขนาดเล็ก ทำได้สำเร็จ

- พ. ศ. 2505

- เริ่มต้นสมัยอายุ 5 ขวบ ชอบอวกาศ ชอบเทคโนโลยี ชอบเขียนแบบออกแบบ เช่น รถแข่ง เครื่องบิน ยานอวกาศ หุ่นยนต์
- ศึกษา และมีความสนใจในโครงการ อวกาศ และ อากาศยานบิน เพื่อทำโครงการ อวกาศยาน เป็นจุดเริ่มต้นของแรงบันดาลใจ
- สร้างยานอวกาศจำลองตามภาษาเด็กๆ แล้วจินตนาการว่าได้ขับยานอวกาศไปท่องเที่ยวพจญภัยตามดวงดาว


กลับไปหน้าโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน   กลับไปหน้าสถาบัน และศูนย์ฝึกอบรม
สงวนลิขสิทธิ์ การออกแบบหน้าเว็บเพจเว็บไซต์สไตล์หน้าแรก index โดยAKE เอกสิริกุล ผู้ออกแบบ และเจ้าของลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอกเรียนแบบ ห้ามดัดแปลงใดๆในรูปแบบของหน้า Index